ไฟ เครื่อง ขึ้น โชว์

thatsanderskid.com

การ ปฏิวัติ ยุโรป

Hits (22536) การจัดกิจกรรมสะเต็ม โดยใช้ KidBright นั้นสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในเนื้อหา วิทยาการคำนวณและ...

ผลกระทบจากการปฏิวัติฝรั่งเศส by supalukana panyatangsakul

๑๑๙๙-๑๒๑๖) ทรงยอมรับแมกนาคาร์ตา (Magna Carta ค. ๑๒๑๕) หรือมหากฎบัตร (Great Charter) ที่ขุนนาง พระ พ่อค้า และประชาชนรวมตัวกันบีบบังคับให้พระองค์ยอมรับข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษรในการจำกัดพระราชอำนาจไม่ให้ใช้พระราชอำนาจเกินขอบเขตในการเก็บภาษีอากร การลงโทษและอื่นๆ ต่อมาได้เกิดรัฐสภา (parliament) ที่ประกอบด้วย สภาขุนนาง (House of Lords) และ สภาสามัญ (House of Commons) ที่มีส่วนสำคัญในการลดอำนาจสิทธิ์ของกษัตริย์ ต่อมาเมื่อกษัตริย์พยายามจะละเลยอำนาจของรัฐสภา สภาและประชาชนได้ร่วมกันก่อการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) ขึ้นใน ค. ๑๖๘๘ ขับกษัตริย์ออกจากบัลลังโดยไม่มีการนองเลือดและให้กษัตริย์พระองค์ใหม่ยอมรับในอำนาจของรัฐสภา นับเป็นการสิ้นสุดของการพยายามใช้อำนาจปกครองอย่างเด็ดขาดของกษัตริย์ และเป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญอย่างแท้จริง ทั้งยังยุติปัญหาความแตกแยกทางศาสนาภายในประเทศโดยกำหนดให้กษัตริย์ต้องทรงนับถือและเป็นองค์ศาสนูปถัมภกของนิกายแองกลิคัน (Anglicanism) หรือนิกายอังกฤษ (Church of England) ระบอบกษัตริย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ส่วนฝรั่งเศสและประเทศมหาอำนาจในอดีตอื่นๆ ได้แก่ ปรัสเซีย (รัฐหนึ่งในดินแดนเยอรมัน ต่อมามีบทบาทเป็นผู้นำในการรวมชาติเยอรมนีใน ค.

พระเจ้านิโคลัสที่ 2 ขัดแย้งกับสภาดูมา จึงยุบสภาและตนเองเข้าไปแทน 4. พระเจ้านิโคลัสที่ 2 ไร้ความสามารถ (ทรงไปบัญชาการรบส่วนหน้า อำนาจจึงตกไปอยู่ที่ผู้อื่นแทน) 4. 5. รัสเซียเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ทั้งที่ไม่มีความสามารถมากพอ 4. 6. กลุ่มสตรีเดินประท้วงหยุดงานทะทะกับกลุ่มประชาชน ที่เข้าแถวรอซื้ออาหารในกรุงเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ (8 มีนาคมตามปฏิทินปัจจุบัน) 1917 จนกลายเป็นความขัดแย้งและปฏิวัติ 4. ผลที่เกิดขึ้น 4. ราชวงศ์โรมานอฟล่มสลาย 4. เจ้าชายลวอฟขึ้นมาปกครองสภาดูมา เป็นรัฐบาลชั่วคราว ต่อมาได้ลาออก และเคอเรนสกีขึ้นมาทำหน้าที่แทน แต่ยังไม่ถอนตัวเองออกจากสงคราม 4. ครั้งที่ 2 (ตุลาคม - พฤศจิกายน 1917) 4. ชนกลุ่มน้อยต้องการสิทธิในการปกครองบ้านเมือง 4. การไม่ยอมถอนรัสเซียจากสงครามโลก 4. เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับทหาร 4. พรรคบอลเชวิคเข้าโจมตีและยึดอำนาจ ในกรุงเปโตกราด จนรัฐบาลไม่สามารถหยุดยั้งได้ 4. วลาเดมีร์ เลนินตั้งใจล้มสภาดูมา ตั้งสาผู้ตรวจการของประชาชนแทน โดยเลนินเป็นประธาน 4. พรรคบอลเชวิคเปลี่ยนเป็นพรรคคอมมิวนิสต์ 4. เกิดสงครามกับพวกรัสเซียขาว (กษัตริย์นิยม และเสรีนิยม) แต่รัสเซียแดงชนะ 4.

แรงผลักดันทางด้านการค้า เมื่อพวกมุสลิมสามารถยึดครองกรุงคอนสแตนติโนเปิล และดินแดนจักรวรรดิไบแซนไทน์ได้ทั้งหมดใน ค. 1453 ทำให้การค้าทางบกระหว่างโลก ตะวันออกกับโลกตะวันตกหยุดชะงัก แต่สินค้าต่างๆ จากตะวันออก เช่น ผ้าไหม เครื่องเทศยาต่างๆ ยังเป็นที่ต้องการของตลาดตะวันตก ซึ่งหนทางเดียวที่พ่อค้าจะติดต่อค้าขายได้ก็คือ การติดต่อค้าขายทางทะเล ดังนั้นจึงจำเป็นต้องสำรวจเส้นทางทางทะเล เพื่อหาเส้นทางติดต่อกับ ดินแดนต่างๆ ทางตะวันออก 3. แรงผลักดันทางด้านศาสนา เนื่องจากความคิดของผู้นำชาติต่างๆ ในขณะนั้นเห็น ว่าการเผยแผ่คริสต์ศาสนาเป็นกุศลอย่างมาก รวมทั้งต้องการแข่งขันกับชาวมุสลิมที่เข้ามาขยาย อิทธิพลอยู่ในขณะนั้น จึงสนับสนุนให้มีการค้นหาดินแดนใหม่ๆ และเผยแผ่คริสต์ศาสนาไป พร้อมกันด้วย 4.

1488 – วัสโก ดา กามา (VASCO DA GAMA) แล่นเรือตาม เส้นทางสำรวจของไดแอสจนถึงทวีปเอเชีย และสามารถขึ้นฝั่ง ที่เมืองกาลิกัต (CALICUT) ของอินเดียได้เมื่อ ค. 1498 ต่อมา ชาวโปรตุเกสสามารถควบคุมเมืองต่างๆ ทางชายฝั่งตะวันออก ของทวีปแอฟริกาและอินเดียทางชายฝั่งตะวันตก สามารถยึด เมืองกัว (GOA) ในมหาสมุทรอินเดียได้ สเปน ค. 1492 คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (CHRISTOPHER COLUMBUS) ชาวเมืองเจนัว (ประเทศอิตาลี) ซึ่งมีความเชื่อว่าโลกกลม ได้รับ การสนับสนุนจากกษัตริย์สเปนให้เดินทางข้าม มหาสมุทรแอตแลนติก เพื่อสำรวจเส้นทางเดินเรือ ไปประเทศจีน แต่เขาได้พบหมู่เกาะเวสต์อินดีสซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของทวีปอเมริกาใต้โดยบังเอิญใน ค. 1492 ซึ่งทำให้สเปนได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ ในอเมริกาใต้ที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแร่เงินและทองคำ ในเวลาต่อมา คริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นช่วงการแข่งขันอำนาจทางทะเลระหว่างโปรตุเกสและสเปนเพื่อ หาเส้นทางไปหมู่เกาะอีสต์อินดีส (EAST INDIES) ซึ่งเป็นแหล่งเครื่องเทศและพริกไทย ใน ค. 1494 สันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 (ALEXANDER VI) ได้ให้สเปนและโปรตุเกสทำสนธิสัญญา ทอร์เดซียัส (TREATY OF TORDESILLAS) กำหนดเส้นสมมติแบ่งโลกออกเป็น 2 ส่วน โดยสเปนมีสิทธิ สำรวจและยึดครองดินแดนทางด้านตะวันตกของเส้นเมริเดียนที่ 51 ส่วนโปรตุเกสได้สิทธิทาง ด้านตะวันออกและนำไปสู่การสร้างจักรวรรดิทางทะเลของโปรตุเกสในเอเชีย ในคริตส์ศตวรรษที่ 16 โปรตุเกสได้ขยายอำนาจมาจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเข้า ยึดครองมะละกา ทำให้บริเวณคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะอินโดนีเซียตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ โปรตุเกส ค.

มาทำความรู้จักกับการปฏิวัติวิทยาศาสตร์

ผลกระทบจากการปฏิวัติฝรั่งเศส by supalukana panyatangsakul

1789 เมื่อประเทศฝรั่งเศสประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจนไม่สามารถแก้ปัญหาได้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 จึงทรงเปิดประชุมสภาฐานันดร (Estates General) ในวันที่ 17 มิถุนายน ค. 1789 เพื่อขอคะแนนเสียงของตัวแทนของประชาชนทุกกลุ่มช่วยกันแก้ไขปัญหาทางการคลัง แต่ได้เกิดปัญหาขึ้นเพราะกลุ่มฐานันดรที่ 3 เรียกร้องให้นับคะแนนเสียงเป็นรายหัว แต่กลุ่มฐานันดรที่ 1 และ 2 ซึ่งได้ร่วมมือกันเสมอนั้นเสนอให้นับคะแนนเสียงแบบกลุ่ม จึงทำให้กลุ่มฐานันดรที่ 3 เดินออกจากสภา แล้วจัดตั้งสภาแห่งชาติ (National Assombly) เรียกร้องให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ปิดห้องประชุม ต่อมาวันที่ 20 มิถุนายน ค. 1789 สภาแห่งชาติได้ย้ายไปประชุมที่สนามเทนนิส และร่วมสาบานว่าจะไม่ยอมแพ้และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่าจะได้รับชัยชนะ และต้องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใช้ในการปกครองประเทศ ในขณะเดียวกันกับความวุ่นวายได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปารีส และได้ขยายตัวออกไปทั่วประเทศ ฝูงชนชาวปารีสได้รับข่าวลือว่าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 กำลังจะส่งกำลังทหารเข้ามาปราบปรามความฝูงชนที่ก่อวุ่นวายในปารีส ดังนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค. 1789 ฝูงชนจึงได้ร่วมมือกันทำลายคุกบาสติล(Bastille) ซึ่งเป็นสถานที่คุมขังนักโทษทางการเมือง และถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของการปกครองในระบอบเก่า รูปการทำลายคุกบาสติล ผลจากการปฏิวัติฝรั่งเศส 1.

  1. ปวด หัว ไม่ ทราบ สาเหตุ
  2. ศิลปะทวีปยุโรป | Western Art
  3. ระบอบการปกครอง – ทวีปยุโรป
  4. เปิดตัว Google Pixel Slate แท็บเล็ต Chrome OS รุ่นแรกของ Google รองรับการทำงานร่วมกับเคสคีย์บอร์ดและปากกาสไตลัส - Siamphone.com
  5. การปฏิวัติ ค.ศ. 1848 — Google Arts & Culture
  6. ส เป ค xpander
  7. ฟลูออแรนทีน - วิกิพีเดีย
  8. Creeper house ระยอง

ผู้แต่ง ธิติพงศ์ มีทอง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม คำสำคัญ: สถาบันกษัตริย์, การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์, สาธารณรัฐที่สองของฝรั่งเศส, การปฏิวัติเดือนมิถุนายน, จักรวรรดิที่สองของฝรั่งเศส บทคัดย่อ การปฏิวัติฝรั่งเศสใน ค. ศ. 1848 หรือรู้จักในนามการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติยุโรปใน ค. 1848 ในอีกหลายประเทศต่อมา ผลของการการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ส่งผลให้ราชวงศ์ออร์เลอองส์ที่ปกครองฝรั่งเศสมานับตั้งแต่ ค. 1830-1848 ต้องสิ้นสุดอำนาจลง อีกทั้งยังนำไปสู่การสถาปนาสาธารณรัฐที่สองของฝรั่งเศสขึ้นภายหลังจากการโค่นล้มอำนาจของพระเจ้าหลุยส์ฟิลิปในเดือนกุมภาพันธ์ รัฐบาลชุดใหม่ในสมัยสาธารณรัฐที่สองของฝรั่งเศสได้ปกครองประเทศในช่วงระยะเวลาอันสั้น แต่ทว่าในช่วงเวลาดังกล่าวนับแต่วันที่ 23 มิถุนายน ค.